ผลการประเมินสถานะการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) และผลลัพธ์การดำเนินการ (หมวด 7) สคร.9
     
ปรับปรุงข้อมูลวันที่ 25 พฤศจิกายน 2565  
สคร.9 ได้รับรางวัลบริการภาครัฐ ปี 2559
ระดับดีเด่น (Best Practice)
ประเภทรางวัลนวัตกรรมการบริการที่เป็นเลิศ
เรื่อง "อุปกรณ์ลดฝุ่น: นวัตกรรมการบริการ
ป้องกัน ควบคุมโรคปอดฝุ่นหิน"
สคร.9 ได้รับรางวัลเลิศรัฐ ปี 2563 รางวัลบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม ระดับดี ประเภทสัมฤทธิผลประชาชนมีส่วนร่วม เรื่อง "สานพลังเครือข่าย ร่วมใจจิตอาสา
พัฒนาคุณภาพชีวิต พิชิตเบาหวานความดัน
ชุมชนหมื่นไวย"
สคร.9 ได้รับรางวัลเลิศรัฐ ปี 2565
สาขาบริการภาครัฐ ระดับดี
ประเภทนวัตกรรมการบริการ
เรื่อง "นวัตกรรมการประเมินและจัดการ
ความเสี่ยง จากการทำงานในที่อับอากาศ"
สคร.9 ได้รับเกียรติบัตร เป็นหน่วยงานที่
ดำเนินการยกระดับคุณภาพ
การบริหารจัดการภาครัฐที่โดดเด่น
(ระบบราชการ 4.0) ปี 2565
สคร.9 ได้รับเกียรติบัตร เป็นหน่วยงานที่
นำนโยบายกำกับดูแลองค์การที่ดี สู่การปฏิบัติ
(Organization Governance for Change)
ปี 2565
         
  ผลการประเมินหน่วยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0 (ด้วยเครื่องมือการบริหารจัดการภาครัฐ PMQA 4.0) สคร.9 ปี 2563 - 2565
หมวด
ปี 2563
ผลประเมินตนเอง
ปี 2564
ปี 2565

ผลประเมินตนเอง
ผลคณะกรรมการกรมฯประเมิน
ผลประเมินตนเอง
ผลคณะกรรมการกรมฯประเมิน
หมวด 1 การนำองค์กร
471
475
361
486
448
หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์
411
458
288
449
413
หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
450
475
313
470
423
หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
480
450
250
461
425
หมวด 5 การมุ่งเน้นบุคลากร
459
462
298
495
432
หมวด 6 การมุ่งเน้นระบบปฏิบัติการ
425
425
192
469
444
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ 
435
447
455
499
350
คะแนนหมวด 1-6 (เต็ม 500 คะแนน)
447
ระดับก้าวหน้า (Advance)
457
ระดับก้าวหน้า (Advance)
308
ระดับพื้นฐาน (Basic)
455
ระดับเกิดผล (Significance)
420
ระดับเกิดผล (Advance)
       
   
     
       
    ประกาศกรมควบคุมโรค เรื่อง นโยบายการพัฒนากรมควบคุมโรคเข้าสู่ระบบราชการ 4.0 ปี 2565
    ประกาศกรมควบคุมโรค เรื่อง สายโซ่แห่งคุณค่า (Value Chain) กรมควบคุมโรค และ สคร.9 ปี 2565
    ประกาศกรมควบคุมโรค เรื่อง นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี กรมควบคุมโรค ปี 2565
    ลักษณะสำคัญขององค์กร สคร.9 ปี 2565
    แผนยกระดับการพัฒนาสู่ระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) ระยะ 3 ปี (ปี 2565-2567)
    แผนปฏิบัติการเพื่อยกระดับการพัฒนาสู่ระบบราชการ 4.0 ปี 2565
    ผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการเพื่อยกระดับการพัฒนาสู่ระบบราชการ 4.0 ปี 2565
    รายงานสรุปผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการเพื่อยกระดับการพัฒนาสู่ระบบราชการ 4.0 ปี 2565 รอบ 12 เดือน
       
       
     
ตัวชี้วัดหมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ (มิติ 7.1 - 7.6) และตัวชี้วัดปิด GAP ทุกหมวดตามแผนปฏิบัติการฯ สคร.9 ปี 2565
(ผลการประเมินตนเอง ปี 2565 ข้อมูล ณ วันที่ 19 ส.ค.2565)
มิติ
RM (Results Management)
ชื่อตัวชี้วัด
ผลการดำเนินงาน ปี 2563
ผลการดำเนินงาน ปี 2564
ค่าเป้าหมาย
ปี 2565
ผลลัพธ์
ปี 2565
กลุ่มงานที่รับผิดชอบรายงานตัวชี้วัด
7.1 การบรรลุผลลัพธ์ของตัวชี้วัดตามพันธกิจ
1. ตัวชี้วัดของการบรรลุผลลัพธ์ตามพันธกิจหรือภารกิจของส่วนราชการตามที่ระบุไว้ (Function base, Area base) 1. ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตัวชี้วัดคำรับรองการปฏิบัติราชการ (องค์ประกอบที่ 1 Function base และองค์ประกอบที่ 3 Area base)
97.30
97.50
ร้อยละ 97
100
(ประเมินตนเอง ณ 20 กย.65)
กลุ่มพัฒนาองค์กร
2. ตัวชี้วัดของการบรรลุผลลัพธ์ตามนโยบายและแผนรัฐบาล (Agenda base) 2. ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตัวชี้วัดคำรับรองการปฏิบัติราชการ (องค์ประกอบที่ 2 Agenda base)
92.95
97.16
ร้อยละ 97
100
(ประเมินตนเอง ณ 20 กย.65)
กลุ่มพัฒนาองค์กร
3. ตัวชี้วัดของการบรรลุผลการดำเนินการด้านกฎหมาย
-
4. ตัวชี้วัดของการบรรลุผลตามแผนยุทธศาสตร์ 3. ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการขององค์กร
100
100
ร้อยละ 100
99.05
(ณ 20 กย.65)
กลุ่มยุทธศาสตร์ แผนงานและเครือข่าย
5. ตัวชี้วัดของการบรรลุตามยุทธศาสตร์อื่นๆ ตามนโยบายของส่วนราชการหรือของรัฐบาล เช่น ตัววัดร่วม ตัววัดที่แสดงถึงการปรับปรุงระดับในการจัดอันดับ โดยองค์การภายนอกประเทศในด้านต่างๆ เป็นต้น
-
ตัวชี้วัดที่สอดคล้องกับ GAP ตามแผนปรับปรุงฯ  ที่หน่วยงานเลือกเพิ่มเติม ได้แก่
- GAP หมวด 2 ข้อ 2.4 Advance แผนปรับปรุงฯ เรื่อง การทบทวนและปรับแผนยุทธศาสตร์ สคร.9
4. จำนวนรายงานผลการทบทวนและปรับแผนยุทธศาสตร์ สคร.9
   - R2R เรื่อง การประเมินผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ 5 ปี สคร.9 (พ.ศ. 2563-2567) ช่วงปี 2563 - 2564 (Mid-Term Review)
1 เรื่อง
1 เรื่อง
กลุ่มยุทธศาสตร์ แผนงานและเครือข่าย
7.2 การบรรลุผลลัพธ์ตามตัวชี้วัดด้านผู้รับบริการ และประชาชน 1. ตัวชี้วัดของการบรรลุผลลัพธ์ของความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากการใช้บริการของหน่วยงาน 5. ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากการใช้บริการของหน่วยงาน
  - ความพึงพอใจของผู้ใช้ข้อมูลข่าวสาร สคร.9
  - ความพึงพอใจของประชาชนต่อการบริการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคที่เป็นปัญหาสำคัญ (โรคติดต่อนำโดยแมลง)


86.00

97.09


86.40

97.96


ร้อยละ 86

ร้อยละ 97


90.60

98.28


กลุ่มสื่อสารฯ

ศตม.9.1 - 9.4
2. ตัวชี้วัดที่แสดงออกถึงความผูกพัน และการให้ความร่วมมือจากประชาชนและผู้เข้ามารับการบริการของหน่วยงาน
-
3. ตัวชี้วัดที่แสดงการบรรลุผลหรือความสำเร็จของการดำเนินการด้านโครงการประชารัฐ 
-
4. ตัวชี้วัดที่สะท้อนถึงผลจากการปรับเปลี่ยนด้านการบริการและนวัตกรรมการบริการที่เกิดประโยชน์ต่อผู้รับบริการที่สามารถวัดผลได้ 6. ร้อยละของนวัตกรรมการบริการที่เกิดประโยชน์ต่อผู้รับบริการที่สามารถวัดผลได้
   - ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการสื่อประชาสัมพันธ์ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ (RC9)
   - เต็นท์เก็บตัวอย่างความดันบวกป้องกันการติดเชื้อโควิด-19

(ปี 2563 SAT & JIT Lab สคร.9 : โปรแกรมระบบข้อมูลและติดตามผลการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ)
(ปี 2564 Chatbot Digital Doctor@DDC : แบบคัดกรองวัณโรคปอดออนไลน์ และ AI Chatbot ตอบคำถามอัตโนมัติเกี่ยวกับวัณโรค)
95.00
85.20
ร้อยละ 85


88


90


กลุ่มสื่อสารฯ


กลุ่มพัฒนานวัตกรรมและวิจัย
5. ตัวชี้วัดที่สะท้อนถึงการจัดการข้อร้องเรียนที่ได้รับการแก้ไขอย่างรวดเร็วและเกิดผล
-
ตัวชี้วัดที่สอดคล้องกับ GAP ตามแผนปรับปรุงฯ ที่หน่วยงานเลือกเพิ่มเติม ได้แก่
- GAP หมวด 1 ข้อ 1.3 Significance แผนปรับปรุงฯ เรื่อง การพัฒนากระบวนการพัฒนานวัตกรรม สคร.9
7. จำนวนนวัตกรรมที่มีผลกระทบสูงหรือเชิงนโยบาย ที่นำไปสู่การแก้ปัญหาที่มีความซับซ้อน 
   (1) "Easy Lab Line Chatbot" ทีม CDCU เขตสุขภาพที่ 9 นำไปใช้ประโยชน์ เป็นแนวทางในการทำงาน ร้อยละ 76.67 และมีความพึงพอใจ ร้อยละ 81.40
   (2) "นวัตกรรมการประเมินและจัดการความเสี่ยงจากการทำงานในที่อับอากาศ" เป็นต้นแบบมาตรการ Intervention/นวัตกรรม กรมควบคุมโรค เพื่อลดความเสี่ยง ลดการบาดเจ็บจากการทำงานในที่อับอากาศ และได้รับรางวัลเลิศรัฐ ปี 2565 สาขาบริการภาครัฐ ระดับดี ประเภทนวัตกรรมการบริการ
1 เรื่อง
2 เรื่อง
กลุ่มระบาดฯ
งาน Env.Occ.
ตัวชี้วัดที่สอดคล้องกับ GAP ตามแผนปรับปรุงฯ
- GAP หมวด 3 ข้อ 3.1 Significance แผนปรับปรุงฯ เรื่อง การพัฒนาระบบรวบรวมความต้องการและความคาดหวัง จากสารสนเทศทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน
8. จำนวนระบบข้อมูลความต้องการและความคาดหวังของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 
   - ที่เว็บไซต์สคร.9 http://103.40.150.229/DPC5/survey.htm
1 ระบบ
1 ระบบ
กลุ่มพัฒนาองค์กร
ตัวชี้วัดที่สอดคล้องกับ GAP ตามแผนปรับปรุงฯ
- GAP หมวด 3 ข้อ 3.3 Significance แผนปรับปรุงฯ เรื่อง การสร้างนวัตกรรมการบริการที่สามารถให้บริการเฉพาะบุคคล ที่สามารถออกแบบได้
9. จำนวนนวัตกรรมการบริการ
   - "นวัตกรรมการประเมินและจัดการความเสี่ยงจากการทำงานในที่อับอากาศ" ผู้ใช้งานได้แก่ ประชาชนที่ทำงานในที่อับอากาศ, อสม. ในพื้นที่เขตสุขภาพที่ 9 อุปกรณ์ตรวจวัดและระบายอากาศในที่อับอากาศ มีฟังก์ชั่นให้ผู้ใช้งานเลือกใช้ตามความต้องการ ผู้ใช้งานมีความพึงพอใจร้อยละ 84.22
1 เรื่อง
1 เรื่อง
งาน Env.Occ.
7.3 การบรรลุผลลัพธ์ตามตัวชี้วัดด้านการพัฒนาบุคลากร 1. ตัวชี้วัดของการพัฒนานวัตกรรมที่เกิดจากบุคลากรของหน่วยงาน 10. จำนวนระบบสารสนเทศที่ได้มีการพัฒนาเพิ่มขึ้นภายในส่วนราชการ
    (1) โปรแกรมการเฝ้าระวังลูกน้ำยุงลาย และการเฝ้าระวังโรคติดต่อนำโดยยุงลาย ผู้ใช้งานพึงพอใจร้อยละ 96
    (2) โปรแกรมอัตโนมัติตอบสนองข้อมูลที่จำเป็นสำหรับทีม SAT & JIT (Easy Response Phase 2) ผู้ใช้งานพึงพอใจร้อยละ 96.93
    (3) Chat Bot คุณระเบียบ ผู้ใช้งานพึงพอใจร้อยละ 89.00
    (4) Chat Bot น้องโอดี ผู้ใช้งานพึงพอใจร้อยละ 93.27

(ปี 2563 SAT & JIT Lab สคร.9 : โปรแกรมระบบข้อมูลและติดตามผลการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ)
(ปี 2564 E-Tracking ODPC9 : ระบบฐานข้อมูลผลิตภัณฑ์วิชาการ สคร.9)
1
1
1 ระบบ
4 ระบบ
ศตม.9.3
กลุ่มบริหารทั่วไป
กลุ่มพัฒนาองค์กร
กลุ่มระบาดฯ
2. ตัวชี้วัดของการเรียนรู้และผลการพัฒนาบุคลากรของหน่วยงาน 11. จำนวนบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาทักษะด้วยโปรแกรมพี่เลี้ยง (Mentoring Program) 
6
6 คน
7 คน
กลุ่มพัฒนาองค์กร
3. ตัวชี้วัดที่แสดงถึงความก้าวหน้าของบุคลากรและความก้าวขึ้นสู่ตำแหน่งตามแผน
-
4. ตัวชี้วัดที่แสดงถึงบุคลากรของส่วนราชการที่ได้รับการแต่งตั้งให้ไปร่วมในภาคีเครือข่ายภายนอกทั้งระดับชาติและนานาชาติ
-
5. ตัวชี้วัดที่แสดงถึงบุคลากรของส่วนราชการไปเป็นอาสาสมัครในโครงการที่ตอบสนองนโยบายหน่วยงาน
-
ตัวชี้วัดที่สอดคล้องกับ GAP ตามแผนปรับปรุงฯ  ที่หน่วยงานเลือกเพิ่มเติม ได้แก่
- GAP หมวด 5 ข้อ 5.4 Significance แผนปรับปรุงฯ เรื่อง การวางแผนและพัฒนาทักษะบุคลากรและผู้นำให้มีทักษะที่สามารถปฏิบัติงานได้หลากหลาย 
12. จำนวนแผนการพัฒนาทักษะบุคลากร
   - แผนปฏิบัติการพัฒนาทรัพยากรบุคคล สคร.9 ปี 2565 ดำเนินการตามแผนฯ ได้ร้อยละ 100
1 เรื่อง
1 เรื่อง
กลุ่มพัฒนาองค์กร
7.4 การบรรลุผลลัพธ์ตามตัวชี้วัดด้านการเป็นต้นแบบ 1. ตัวชี้วัดที่แสดงถึงสำเร็จของการเป็นต้นแบบของส่วนราชการที่ได้รับรางวัลจากหน่วยงานภายนอก ที่แสดงถึงความสำเร็จในการปรับปรุงกระบวนการ 13. จำนวนผลงานสมัครรางวัลเลิศรัฐ
    - "นวัตกรรมการประเมินและจัดการความเสี่ยงจากการทำงานในที่อับอากาศ" ได้รับรางวัลเลิศรัฐ ปี 2565 สาขาบริการภาครัฐ ระดับดี ประเภทนวัตกรรมการบริการ
(ปี 2563 เรื่อง "สานพลังเครือข่าย ร่วมใจจิตอาสา พัฒนาคุณภาพชีวิต พิชิตเบาหวานความดัน ชุมชนหมื่นไวย" ได้รับรางวัลเลิศรัฐ รางวัลบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม ระดับดี ประเภทสัมฤทธิผลประชาชนมีส่วนร่วม)
(ปี 2564 เรื่อง “คนที่ไม่ถูกลืม: การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนเร่ร่อน สู่เมืองน่าอยู่ปลอดโรคปลอดภัย” สมัครรางวัลเลิศรัฐ รางวัลบริการภาครัฐ ประเภทพัฒนาการบริการ)
1
1
1 เรื่อง
1 เรื่อง
กลุ่มพัฒนาองค์กร
2. ตัวชี้วัดที่แสดงถึงสำเร็จของการเป็นต้นแบบของหน่วยงานที่เป็น Best practice 14. ร้อยละของผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (ITA)
86.00
86.77
ร้อยละ 85
85.63
กลุ่มพัฒนาองค์กร
3. ตัวชี้วัดที่แสดงถึงสำเร็จของการเป็นต้นแบบของหน่วยงาน
-
4. ตัวชี้วัดที่แสดงถึงสำเร็จของการแข่งขัน โดยได้รับการจัดอันดับในระดับนานาชาติ
-
5. ตัวชี้วัดที่แสดงถึงสำเร็จของการเป็นต้นแบบของส่วนราชการ โดยมีบุคลากรของตนเองได้รับการยกย่องจากภายนอก
-
7.5 การบรรลุผลลัพธ์ตามตัวชี้วัดด้านผลกระทบต่อเศรษฐกิจ สังคม สาธารณสุข และสิ่งแวดล้อม 1. ตัวชี้วัดของการบรรลุผลลัพธ์การบรรลุผลของตัววัดร่วม ในการมีกระบวนการที่ดำเนินการข้ามหลายหน่วยงาน (Area base) 15. ระดับความสำเร็จการขับเคลื่อนงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพด้วยกลไกการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ/เขตและระบบสุขภาพปฐมภูมิ (ตัวชี้วัดคำรับรองฯ ที่ 2.4)
5
5
5 ขั้นตอน
5 ขั้นตอน
งานควบคุมโรคเขตเมือง
2. ตัวชี้วัดที่สะท้อนถึงผลกระทบจากการดำเนินการที่มีต่อด้านเศรษฐกิจ
-
3. ตัวชี้วัดที่สะท้อนถึงผลกระทบจากการดำเนินการที่มีต่อด้านสังคม
-
4. ตัวชี้วัดที่สะท้อนถึงผลกระทบจากการดำเนินการที่มีต่อด้านสาธารณสุข 16. ร้อยละกลุ่มบ้าน/หมู่บ้านแพร่เชื้อมาลาเรียลดลง (ตัวชี้วัดคำรับรองฯ ที่ 3.2 ระดับความสำเร็จของการเร่งรัดกำจัดโรคไข้มาลาเรียตามมาตรฐานสากล)
ร้อยละ 50
50
ศตม.ที่ 9.3 สุรินทร์
5. ตัวชี้วัดที่สะท้อนถึงผลกระทบจากการดำเนินการที่มีต่อด้านสิ่งแวดล้อม
-
ตัวชี้วัดที่สอดคล้องกับ GAP ตามแผนปรับปรุงฯ  ที่หน่วยงานเลือกเพิ่มเติม ได้แก่
- GAP หมวด 4 ข้อ 4.3 Significance แผนปรับปรุงฯ เรื่อง การสร้างและสนับสนุนเครือข่ายให้เกิดแนวปฏิบัติที่ดี 
17. จำนวนแนวปฏิบัติที่ดี (Best Practices)
   - รายงานรูปแบบการดำเนินงาน/แนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice) ในการบูรณาการขับเคลื่อนการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ โดยใช้กลไก พชอ. ร่วมกับระบบสุขภาพปฐมภูมิ (3 หมอ) อำเภอคอนสวรรค์ จังหวัดชัยภูมิ ปี 2565 เรื่อง ระบบบริการผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
   - ผลงานเรื่อง “การพัฒนารูปแบบการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อโคโรนาไวรัส 2019 (COVID-19) ผ่านกลไกคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) อำเภอชุมพลบุรีจังหวัดสุรินทร์” (สผท.ร่วมกับสคร.9) นำเสนอในงานประชุมวิชาการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ (15-16 ส.ค.2565) ได้รับรางวัล Popular Vote อันดับ 1
1 เรื่อง
1 เรื่อง
งานควบคุมโรคเขตเมือง
7.6 การบรรลุผลลัพธ์ตามตัวชี้วัดด้านการลดต้นทุน การสร้างนวัตกรรม และการจัดการกระบวนการ 1. ตัวชี้วัดของการลดต้นทุน ทั้งในระดับกระบวนการอันเกิดจากการปรับปรุงงาน และการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้เพื่อลดต้นทุนในการทำงาน
-
2. ตัวชี้วัดของนวัตกรรมการปรับปรุงกระบวนการ  (GAP หมวด 6 ข้อ 6.2 , 6.3) 18. จำนวนนวัตกรรมการปรับปรุงกระบวนการ
   1. กระบวนการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
     (1) นวัตกรรมการประเมินและจัดการความเสี่ยง จากการทำงานในที่อับอากาศ ระบบข้อมูลที่อับอากาศ http://103.40.150.230/confinedspace/login.php
     (2) ระบบให้คำปรึกษาด้านการเก็บตัวอย่างสิ่งส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ กรณีพบการระบาดของโรคในพื้นที่เขตสุขภาพที่ 9 (Easy Lab)
     (3) โปรแกรมอัตโนมัติตอบสนองข้อมูลที่จำเป็นสำหรับทีม SAT & JIT เขตสุขภาพที่ 9 (Easy Response)
     (4) โปรแกรมการเฝ้าระวังลูกน้ำยุงลาย และการเฝ้าระวังโรคติดต่อนำโดยยุงลาย
     (5) เต็นท์เก็บตัวอย่างความดันบวก ป้องกันการติดเชื้อโควิด-19
     (6) การสอบสวนการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน
  2. กระบวนการสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพฯ
     (1) การออกแบบและพัฒนาระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการสื่อฯ (RC9)
  3. กระบวนการตรวจสอบภายใน
     (1) Chat Bot คุณระเบียบ (การเงิน)
  4. กระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคล
     (1) Chat Bot น้องโอดี (HRD & PMS)
1 เรื่อง
9 เรื่อง
งาน Env.Occ.
กลุ่มพัฒนาองค์กร
กลุ่มระบาดฯ
ศตม.ที่ 9.3 สุรินทร์
กลุ่มพัฒนานวัตกรรมและวิจัย
กลุ่มโรคไม่ติดต่อ
กลุ่มสื่อสารฯ
กลุ่มบริหารทั่วไป
3. ตัวชี้วัดผลลัพธ์ของการปรับปรุงกระบวนการ และการบริการจากการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล   ทั้งทางตรงและทางอ้อม 19. จำนวนแอปพลิเคชันที่พัฒนาขึ้นในส่วนราชการ
   - นวัตกรรม Line Chat Bot สคร.9 ได้แก่
     (1) Chat Bot คุณระเบียบ (งานการเงิน)
     (2) Chat Bot น้องโอดี (HRD & PMS)
     (3) โปรแกรมอัตโนมัติตอบสนองข้อมูลที่จำเป็นสำหรับทีม SAT & JIT เขตสุขภาพที่ 9 (Easy Response) (SAT งาน EOC)
     (4) ระบบให้คำปรึกษาด้านการเก็บตัวอย่างสิ่งส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ กรณีพบการระบาดของโรคในพื้นที่เขตสุขภาพที่ 9 (Easy Lab) (JIT งาน EOC)
(ปี 2564 E-Tracking ODPC9: ระบบฐานข้อมูลผลิตภัณฑ์วิชาการ)
1
1 เรื่อง
4 เรื่อง
กลุ่มพัฒนาองค์กร
กลุ่มบริหารทั่วไป
กลุ่มระบาดฯ
4. ตัวชี้วัดที่แสดงถึงประสิทธิผลของการบรรเทาผลกระทบด้านภัยพิบัติต่าง ๆ
-
5. ตัวชี้วัดของนวัตกรรมการปรับปรุงด้านนโยบาย กฎระเบียบ และกฎหมาย
-
ตัวชี้วัดที่สอดคล้องกับ GAP ตามแผนปรับปรุงฯ  ที่หน่วยงานเลือกเพิ่มเติม
- GAP หมวด 6 ข้อ 6.2 Significance (S1, S2, S3) ข้อ 6.3 Significance (S2, RS1) แผนปรับปรุงฯ เรื่อง การออกแบบสถาปัตยกรรมองค์กร เพื่อนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้ในการพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการทำงาน ลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพที่มีผลกระทบสูง
20. จำนวนกระบวนการที่มีการจัดทำสถาปัตยกรรมองค์กร  
    (1) กระบวนการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ (ภัยจากการทำงานในที่อับอากาศ)
    (2) กระบวนการสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ ในการป้องกันโรค (ระบบสื่อฯ RC9) 
    (3) กระบวนการพัฒนานวัตกรรมและผลิตภัณฑ์วิชาการ (ระบบผลิตภัณฑ์วิชาการ E-Tracking) 
    (4) กระบวนการบริหารการ Supply (ยา เวชภัณฑ์ วัสดุวิทยาศาสตร์ และสารเคมี)
4 กระบวนการ
4 กระบวนการ
กลุ่มพัฒนาองค์กร
     
 
ด้านอื่น ๆ
ด้าน
ชื่อตัวชี้วัด
ผลการดำเนินงาน
ปี 2563
ผลการดำเนินงาน
ปี 2564
ค่าเป้าหมาย
ปี 2565
ผลลัพธ์
ปี 2565
กลุ่มงานที่รับผิดชอบรายงานตัวชี้วัด
1. ผลการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน ผลการปฏิบัติราชการตามตัวชี้วัดคำรับรองการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน
- อันดับที่ 1 (ดีเด่น) ปี 2558, 2560 (ปี 2558=4.992 , ปี 2560=4.975)
- อันดับที่ 2 (ดีมาก) ปี 2559, 2561, 2562 (ปี 2559=4.980 , ปี 2561=4.919 , ปี 2562=4.9178 )
4.8333
(เต็ม 5)
96.67%

( ปี 2561=4.919
ปี 2562=4.917 )
4.8885
(เต็ม 5)
97.77%
4.8885
4.8790
(เต็ม 5)
97.58%
กลุ่มพัฒนาองค์กร
2. การพัฒนาระบบราชการ ผลการประเมินหน่วยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0 (ด้วยเครื่องมือการบริหารจัดการภาครัฐ PMQA 4.0) (เต็ม 500)
- คะแนน 300-399 ระดับ Basic
- คะแนน 400-469 ระดับ Advance
- คะแนน 470-500 ระดับ Significance
.
447 คะแนน
(ผลการประเมินตนเอง)
308 คะแนน (Basic)
(ผลการประเมินตนเอง =457)
456 คะแนน
420 คะแนน (Advance)
(ผลการประเมินตนเอง =455)
กลุ่มพัฒนาองค์กร
3. การพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางวิชาการ นวัตกรรม
- การพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางวิชาการ วารสารวิชาการ สคร.9 (TCI ฐาน2) และฐานข้อมูล E-Journal
จำนวนผลิตภัณฑ์ทางวิชาการ สคร.9
- ปี 2565 จำนวน 33 เรื่อง (วิจัย ผ่าน EC ม.ราชภัฏนครราชสีมา=2 , นวัตกรรม=9 , R2R=9 , รายงานสอบสวนโรค=1 , WI=11 , WM=1)
(ปี 2561 = 91 เรื่อง , ปี 2562 = 132 เรื่อง)
102
88
-
33
กลุ่มพัฒนานวัตกรรมและวิจัย
- การเผยแพร่ นำเสนอผลงานวิชาการในเวทีระดับเขต ภาค ประเทศและนานาชาติ จำนวนผลิตภัณฑ์ทางวิชาการที่มีการเผยแพร่
- ปี 2565 นำเสนอ จำนวน 33 เรื่อง (นานาชาติ=1 , กระทรวง=4 , กรม=3 , ภาค=9 , อื่น ๆ=2)
- ปี 2565 ตีพิมพ์ในวารสาร จำนวน 6 เรื่อง
(ปี 2561 = 13 เรื่อง , ปี 2562 = 14 เรื่อง)
20
5
-
39
กลุ่มพัฒนานวัตกรรมและวิจัย
- จำนวนนวัตกรรมที่ได้รับรางวัล และผู้ใช้มีความพึงพอใจ - ปี 2559 เรื่อง “อุปกรณ์ลดฝุ่น: นวัตกรรมการป้องกันควบคุมโรคปอดฝุ่นหิน” ได้รับรางวัลเลิศรัฐ สาขาบริการภาครัฐ ประเภทนวัตกรรมการบริการ ระดับดีเด่น
- ปี 2562 ระบบเฝ้าระวังและคัดกรองโรคติดต่อ ของผู้เดินทางผ่านด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ช่องจอม สุรินทร์ ผู้ใช้งานมีความพึงพอใจร้อยละ 83.75 ได้รับรางวัลผลงานนวัตกรรมยอดเยี่ยมของกรมควบคุมโรค
- ปี 2563 ระบบข้อมูลผลิตภัณฑ์วิชาการ สคร.9 (E-Tracking) ผู้ใช้งานมีความพึงพอใจร้อยละ 79.75 ,
- ปี 2563 ระบบข้อมูลและติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ (SAT JIT Lab) ผู้ใช้งานมีความพึงพอใจร้อยละ 95 ได้รับรางวัลนวัตกรรมของกรมควบคุมโรค
- ปี 2563 ตู้หน้ากากอนามัยหยอดเหรียญ ผู้ใช้งานมีความพึงพอใจร้อยละ 96.5 ได้นำเสนอในงานวันนักประดิษฐ์ และได้รางวัลระดับนานาชาติ "OUTSTANDING AWARD" จาก Citizen Innovation ประเทศสิงคโปร์
- ปี 2564 Digital Doctor@DDC (AI Chatbot คัดกรองวัณโรคปอด) ผู้ใช้งานมีความพึงพอใจร้อยละ 83.67

- ปี 2565
   (1) "นวัตกรรมการประเมินและจัดการความเสี่ยงจากการทำงานในที่อับอากาศ" ได้รับรางวัลเลิศรัฐ ปี 2565 สาขาบริการภาครัฐ ระดับดี ประเภทนวัตกรรมการบริการ ผู้ใช้งานมีความพึงพอใจร้อยละ 84.22
   (2) เต็นท์เก็บตัวอย่างความดันบวกป้องกันการติดเชื้อโควิด-19 ได้รับรางวัลชนะเลิศการนำเสนอผลงานประชุมวิชาการภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ผู้ใช้งานมีความพึงพอใจร้อยละ 90
   (3) Easy Lab Line Chatbot ทีม CDCU เขตสุขภาพที่ 9 นำไปใช้ประโยชน์ เป็นแนวทางในการทำงาน ร้อยละ 76.67 และมีความพึงพอใจ ร้อยละ 81.40
   (4) ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการสื่อประชาสัมพันธ์ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ (RC9) ผู้ใช้งานมีความพึงพอใจร้อยละ 88


3
1
1 เรื่อง
4 เรื่อง
กลุ่มพัฒนาองค์กร
กลุ่มพัฒนานวัตกรรมและวิจัย
- จำนวนรางวัลเลิศรัฐ และรางวัล TQM - ปี 2559 เรื่อง “อุปกรณ์ลดฝุ่น: นวัตกรรมการป้องกันควบคุมโรคปอดฝุ่นหิน” ได้รับรางวัลเลิศรัฐ สาขาบริการภาครัฐ ประเภทนวัตกรรมการบริการ ระดับดีเด่น
- ปี 2559 เรื่อง "การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการป้องกันควบคุมโรคเรื้อนพื้นที่เขตสุขภาพที่ 9 ถวายเป็นพระราชกุศล เฉลิมพระเกียรติ 70 ปีแห่งการครองราชย์" ได้รับรางวัล TQM-Progressive Learners หมวด 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
- ปี 2563 เรื่อง "สานพลังเครือข่าย ร่วมใจจิตอาสา พัฒนาคุณภาพชีวิต พิชิตเบาหวานความดัน ชุมชนหมื่นไวย" ได้รับรางวัลเลิศรัฐ รางวัลบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม ประเภทสัมฤทธิผลประชาชนมีส่วนร่วม ระดับดี
- ปี 2564 เรื่อง “คนที่ไม่ถูกลืม: การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนเร่ร่อน สู่เมืองน่าอยู่ปลอดโรคปลอดภัย” สมัครรางวัลเลิศรัฐ รางวัลบริการภาครัฐ ประเภทพัฒนาการบริการ
- ปี 2565 เรื่อง "นวัตกรรมการประเมินและจัดการความเสี่ยงจากการทำงานในที่อับอากาศ" ได้รับรางวัลเลิศรัฐ ปี 2565 สาขาบริการภาครัฐ ระดับดี ประเภทนวัตกรรมการบริการ
1
1
1 เรื่อง
1 เรื่อง
(สาขาบริการภาครัฐ ระดับดี ประเภทนวัตกรรมการบริการ)
กลุ่มพัฒนาองค์กร
4. การรับรองมาตรฐาน
   (1) มาตรฐานระบบบริหารจัดการคุณภาพห้องปฏิบัติการ (LA) ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ สคร.9
1. กลุ่มห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ด้านควบคุมโรค สคร.9 นครราชสีมา ได้รับโล่และใบรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานงานเทคนิคการแพทย์ 2560 สำหรับห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ โดย สภาเทคนิคการแพทย์ (Laboratory Accreditattion: LA รอบที่ 3)
LA
กลุ่มห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ด้านควบคุมโรค
   (2) มาตรฐานห้องปฏิบัติการกีฏวิทยา ศตม.ที่ 9.2 บุรีรัมย์ สคร.9 ผ่านการรับรองตามมาตรฐานความสามารถห้องปฏิบัติการทดสอบด้านสาธารณสุข/คุ้มครองผู้บริโภค (ISO/IEC17025) (รับรองวันที่ 23 ก.ค.2563 - 22 ก.ค.2565)
ISO/IEC17025
ศตม.ที่ 9.2 บุรีรัมย์
   (3) มาตรฐานระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข (EOC) สคร.9 ผลการประเมินตามเกณฑ์มาตรฐาน EOC Assessment Tool
87.83
ผ่านสมรรถนะระดับสีเขียว
80
91.89
(ประเมินโดย กรมควบคุมโรค)
กลุ่มระบาดวิทยาและตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
   (4) แนวทางการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อพื้นที่ชายแดน (ด่านควบคุมโรคฯ) - พัฒนาสมรรถนะจังหวัดชายแดน และช่องทางเข้าออกประเทศ ตามข้อกําหนดของกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. 2548 (International Health Regulations - Joint External Evaluation Tool: IHR-JEE)
- พัฒนาสมรรถนะหลักของช่องทางเข้าออกประเทศ ตามมาตรฐานการประเมินสมรรถนะหลักช่องทางเข้าออกประเทศ ท่าอากาศยาน ท่าเรือและพรมแดนทางบก (Core Capacities Assessment Tool: CCAT)
- แผนงานพัฒนาความร่วมมือด้านสาธารณสุขไทย-กัมพูชา (จังหวัดสุรินทร์ - จังหวัดอุดรมีชัย) และมีฐานข้อมูลสนับสนุนการดำเนินงานที่ครบถ้วนและนำไปใช้ประโยชน์ได้
.
80
IHR-JEE ร้อยละ 86.67
CCAT ร้อยละ 92
ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศพรมแดนช่องจอม
5. ความพึงพอใจของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
       
       
 
   
   
   
Homepage