Homepage
 
 
  ผลการสำรวจความพึงพอใจ ความต้องการและความคาดหวัง ของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย  
ด้านการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร ความรอบรู้ ภาพลักษณ์ การได้รับบริการ ด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพของ สคร.9
กรุณาตอบแบบสอบถามความพึงพอใจเว็บไซต์นี้..ขอบคุณค่ะ
จำนวนผู้เข้าชมเว็บไซต์
(เริ่มนับ 2 พฤษภาคม .2565)
ปรับปรุงข้อมูลวันที่ 7 มีนาคม 2566
 
   ข้อมูลความพึงพอใจ ความต้องการและความคาดหวัง ของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่มีต่อบริการด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพของ สคร.9  <<   ดูกราฟ >>
กลุ่มผู้รับบริการและ
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ผลการประเมินความพึงพอใจ
ความต้องการ
(สิ่งที่ลูกค้าจำเป็นต้องได้รับจากการให้บริการ)
ความคาดหวัง
(สิ่งที่ลูกค้าต้องการได้รับความประทับใจ เมื่อมาใช้บริการ)
ปี 2562
ปี 2563
ปี 2564
ปี 2565
ปี 2566
1. ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ กลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคและภัยสุขภาพ กลุ่มวัย กลุ่มโรค กลุ่มป่วย/พิการ/กลุ่มเปราะบาง กลุ่มพื้นที่เป้าหมาย
1. การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ การสอบสวนโรค และการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
2. องค์ความรู้เรื่องการป้องกันควบคุมโรค ข้อมูลข่าวสาร และบริการทางวิชาการ ที่ถูกต้อง ได้มาตรฐาน เข้าใจง่าย ทันต่อสถานการณ์ เข้าถึงได้ง่าย และเป็นที่ยอมรับ ทั้งในระดับประเทศและนานาชาติ
3. นำเสนอข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับโรค และภัยสุขภาพ ที่มีประโยชน์ น่าสนใจ รวดเร็ว ชัดเจน ถูกต้อง และเพียงพอต่อประชาชน
4. สื่อการป้องกัน ควบคุมโรคที่เหมาะสมกับผู้ที่นำไปใช้ เช่น สำหรับ อสม. (จากการสำรวจ อสม. เป็นสื่อบุคคลที่ประชาชนเข้าถึงมากที่สุด)
5. เสริมสร้างและสนับสนุน ครู อาจารย์ ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา ปราชญ์ชาวบ้าน ให้มีบทบาทเป็นนักสื่อสารสุขภาพ


วิธีการประเมินความพึงพอใจฯ : สอบถามโดยตรง สัมภาษณ์ สังเกตพฤติกรรม Poll สอบถามออนไลน์ (เช่น Google form) สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media เช่น Facebook Line)


ความผูกพัน เช่น การมาใช้บริการอย่างต่อเนื่อง ความเต็มใจในการให้ความร่วมมือกับส่วนราชการ ให้ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ การกล่าวถึงในทางที่ดี

1. มีระบบการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ที่พัฒนาต่อเนื่อง ทันต่อเหตุการณ์ในปัจจุบัน
2. มีองค์ความรู้ ที่เข้าถึงได้ง่าย รวดเร็ว ทันสมัย น่าเชื่อถือ หลายช่องทาง และนำไปใช้ประโยชน์ได้
     1.1 ประชาชนมีความพึงพอใจต่อบริการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคที่เป็นปัญหาสำคัญ
ร้อยละ 97.07
(ตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ Lab)
[ดูข้อมูล]
ร้อยละ 97.72
(ไข้มาลาเรีย วัณโรค เอดส์)

ร้อยละ 97.96

(โรคเท้าช้าง ไข้เลือดออก หนอนพยาธิ พยาธิใบไม้ตับ
โรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน)

[ดูข้อมูล]

ร้อยละ 98.28

[ดูข้อมูล]

ร้อยละ 97.04
(7-8 ธค.2565)
ร้อยละ 99.2
(20 มค.2566)
(บริการฉีดวัคซีนป้องกัน COVID-19 และการให้แอนติบอดีออกฤทธิ์ยาว (LAAB))
     1.2 ประชาชนมีความพึงพอใจต่อบริการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลง
ร้อยละ 97.46
[ดูข้อมูล]
ร้อยละ 97.09
[ดูข้อมูล]

ร้อยละ 98.22

ร้อยละ 98.28

[ดูข้อมูล]
     1.3 ประชาชนมีการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร เรื่องโรคและภัยสุขภาพ
ร้อยละ 98
[ดูข้อมูล]
ร้อยละ 78.36
[ดูข้อมูล]


ร้อยละ 79.6

[ดูข้อมูล]
(เข้าถึง ร้อยละ 76.22
มีความรู้ ร้อยละ 69.66)

ร้อยละ 81.6

[ดูข้อมูล]

(เข้าถึง ร้อยละ 71.22
มีความรู้ ร้อยละ 56.06)
 
     1.4 ประชาชนมีความพึงพอใจต่อข้อมูลข่าวสาร เรื่องโรคและภัยสุขภาพ
ร้อยละ 99.3
[ดูข้อมูล]
ร้อยละ 86.8
[ดูข้อมูล]

ร้อยละ 86.4

[ดูข้อมูล]

ร้อยละ 90.60
นำไปใช้ประโยชน์ร้อยละ 88
[ดูข้อมูล]
 
     1.5 ประชาชนมีความพึงพอใจต่อนวัตกรรม สคร.9
ร้อยละ 96.5
(ตู้หน้ากากอนามัยหยอดเหรียญ)

ร้อยละ 80.9
(Digital Doctor@DDC - Chatbot คัดกรองวัณโรคปอด)

[ดูข้อมูล]

ร้อยละ 84.22
นวัตกรรมการประเมินและจัดการความเสี่ยง จากการทำงานในที่อับอากาศ
[ดูข้อมูล]
 
     1.6 ประชาชนรู้จักกรมควบคุมโรค
ร้อยละ 88
[ดูข้อมูล]
รู้จัก ร้อยละ 82.5
[ดูข้อมูล]

ร้อยละ 85.5

[ดูข้อมูล]

ร้อยละ 97
[ดูข้อมูล]

 
     1.7 ประชาชนมีความเห็นเชิงบวก ต่อภาพลักษณ์กรมควบคุมโรค
ร้อยละ 96
[ดูข้อมูล]
ร้อยละ 85.9
[ดูข้อมูล]

ร้อยละ 87.85

[ดูข้อมูล]

ร้อยละ 86.75

[ดูข้อมูล]

 
     1.8 ประชาชนมีความรอบรู้สุขภาพด้านการป้องกัน ควบคุมโรค
ร้อยละ 69.5
[ดูข้อมูล]
ร้อยละ 73.12
[ดูข้อมูล]

ร้อยละ 74.03

[ดูข้อมูล]

ร้อยละ 56.51
[ดูข้อมูล]

ร้อยละ 97.53
(7-8 ธค.2565)
ร้อยละ 100
(20 มค.2566)
(การรับรู้และเข้าใจการฉีดวัคซีนป้องกัน COVID-19)
     1.9 ประชาชนมีพฤติกรรมที่เหมาะสมต่อการป้องกันโรค และภัยสุขภาพ
.
ร้อยละ 69
[ดูข้อมูล]
ร้อยละ 76.37
[ดูข้อมูล]

ร้อยละ 78.97

[ดูข้อมูล]

ร้อยละ 73.04

[ดูข้อมูล]
 
กลุ่มผู้รับบริการและ
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ผลการประเมินความพึงพอใจ
ความต้องการ
(สิ่งที่ลูกค้าจำเป็นต้องได้รับจากการให้บริการ)
ความคาดหวัง
(สิ่งที่ลูกค้าต้องการได้รับความประทับใจ เมื่อมาใช้บริการ)
ปี 2562
ปี 2563
ปี 2564
ปี 2565
ปี 2566
2. ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้แก่ กลุ่มเครือข่าย ที่ทำงานร่วมกันทั้งในและระหว่างประเทศ เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ในการป้องกันควบคุมโรค - ภาครัฐ เช่น หน่วยงานในกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 9 สสจ. สสอ. รพ. รพ.สต. อปท. สถานศึกษา ปศุสัตว์ ด่านควบคุมโรค สำนักงานพัฒนาสังคมฯ คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)
- ภาคเอกชน/ประชาสังคม เช่น สื่อมวลชน มหาวิทยาลัย กลุ่มจิตอาสา NGO มูลนิธิ
- ภาคประชาชน เช่น อสม. ผู้นำชุมชน แกนนำชุมชน
1. การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ การสอบสวนโรค และการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
2. องค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค ผลิตภัณฑ์หลักทางวิชาการ และบริการทางวิชาการ ที่ได้มาตรฐาน ถูกต้อง เข้าใจง่าย ทันต่อสถานการณ์ นำไปปฏิบัติได้จริง และเป็นที่ยอมรับทั้งในระดับประเทศและนานาชาติ
3. เครือข่ายการปฏิบัติงานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ ได้แก่ ร่วมศึกษาวิจัย พัฒนาเครือข่ายด้านการป้องกันควบคุมโรค การแลกเปลี่ยนใช้งานข้อมูลร่วมกัน ซ้อมแผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ให้กับประชาชน
4, ข้อมูลที่ผ่านการวิเคราะห์ การพยากรณ์ เตือนภัย การชี้เป้าในการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรค
5. ควรมีการให้ความรู้ด้าน Health literacy สำหรับบุคลากร หน่วยงานเครือข่ายและประชาชน อย่างต่อเนื่อง
- หน่วยงานเครือข่าย พชอ.
6. ขยายการดำเนินงานให้ครอบคลุมทุกพื้นที่
7. ดูแล เป็นพี่เลี้ยงอย่างต่อเนื่อง จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เยี่ยมเสริมพลังทุกปี
8. หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพบุคลากร/ สื่อ/ องค์ความรู้/ เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ปัญหา ใช้ในกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ที่หลากหลายตามบริบทของพื้นที่ เช่น การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในพื้นที่ต้นแบบ


วิธีการประเมินความพึงพอใจฯ : สอบถามโดยตรง สัมภาษณ์ , สังเกตพฤติกรรม , Poll , แบบประเมิน/แบบสอบถามออนไลน์ (เช่น Google form) , สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media เช่น Facebook Line) , ทดสอบการใช้งานนวัตกรรม (Usability Test)

ความผูกพัน เช่น การมาใช้บริการอย่างต่อเนื่อง ความเต็มใจในการให้ความร่วมมือกับส่วนราชการ ให้ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ การกล่าวถึงในทางที่ดี
1. มีระบบการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ที่พัฒนาต่อเนื่อง ทันต่อเหตุการณ์ในปัจจุบัน
2. มีองค์ความรู้ที่สามารถเข้าถึงได้หลายช่องทาง และนำไปใช้ได้
3. ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเครือข่าย เป็นประจำต่อเนื่อง เพื่อเกิดแนวทางในการทำงานใหม่ ๆ
4. นำข้อมูลที่ผ่านการวิเคราะห์ มาใช้ในการทำงานร่วมกัน เพื่อให้เกิดการทำงานไปในทิศทางเดียวกัน และได้มาตรฐาน
5. การสื่อสารข้อมูลสุขภาพที่เข้าถึงได้ง่าย เข้าใจง่าย และนำไปใช้ได้จริง
- หน่วยงานเครือข่าย พชอ.
6. เชิดชูเกียรติ สร้างขวัญกำลังใจ และส่งเสริมให้เกิดกระบวนการทำงานเป็นทีม
7. ช่องทางการติดต่อสื่อสาร ประสานงาน
     2.1 เครือข่ายมีความพึงพอใจต่อการพัฒนาศักยภาพ และสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
ร้อยละ 99.2
[ดูข้อมูล]
ร้อยละ 89.25
[ดูข้อมูล]

ร้อยละ 98.25

- ด้านการสนับสนุนทางวิชาการ ร้อยละ 91

(เครือข่าย พชอ.)

[ดูข้อมูล]
 
     2.2 เครือข่ายมีความพึงพอใจต่อการสนับสนุน เสริมสร้างศักยภาพ และความเข้มแข็ง ในการจัดการระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
ร้อยละ 91.9
[ดูข้อมูล]
ร้อยละ 92.05
(การนำมาตรฐานสถานที่ทำงาน
ไปใช้ ร้อยละ 90)

ร้อยละ 83.41

(การนำมาตรฐานสถานที่ทำงานไปใช้)

[ดูข้อมูล]

- ภาพรวม ร้อยละ 94

(ด้านบุคลากร ร้อยละ 98 ด้านบริการ ร้อยละ 94)
(เครือข่าย พชอ.)
[ดูข้อมูล]
 
     2.3 เครือข่ายมีความพึงพอใจและรับรู้ข้อมูลข่าวสาร เรื่องโรคและภัยสุขภาพ
ร้อยละ 96.3
[ดูข้อมูล]

ร้อยละ 82.45

[ดูข้อมูล]

ร้อยละ 90.60
นำไปใช้ประโยชน์ร้อยละ 88
[ดูข้อมูล]
 
     2.4 บุคลากรสาธารณสุขมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ ด้านการป้องกันควบคุมโรค

ร้อยละ 74.4
[ดูข้อมูล]

ร้อยละ 68.22
[ดูข้อมูล]
 
     2.5 บุคลากรสาธารณสุขมีการรับรู้ บรรยากาศองค์การรอบรู้ด้านสุขภาพ (HLO)

ร้อยละ 82.48
[ดูข้อมูล]

ร้อยละ 54.17
[ดูข้อมูล]
 
    2.6  เครือข่ายมีความพึงพอใจต่อนวัตกรรม สคร.9

ร้อยละ 83.75
(ระบบเฝ้าระวังและคัดกรองโรคติดต่อ ของผู้เดินทางผ่านด่านช่องจอม สุรินทร์)

[ดูข้อมูล]

ร้อยละ 95
(ระบบข้อมูลและติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ SAT & JIT Lab)
[ดูข้อมูล]

ร้อยละ 89.2
(Digital Doctor@DDC - Chatbot คัดกรองวัณโรคปอด)
[ดูข้อมูล]

ภาพรวมเฉลี่ยร้อยละ 90.12
1. Easy Response ร้อยละ 96.93
2. โปรแกรมเฝ้าระวังลูกน้ำยุงลายฯ ร้อยละ 96
3. เต็นท์เก็บตัวอย่างความดันบวก ป้องกันการติดเชื้อโควิด-19 ร้อยละ 90
4. การออกแบบและพัฒนาระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการสื่อฯ (RC9) ร้อยละ 88
5. Easy Lab-Line Chatbot ร้อยละ 86.25
6. การสอบสวนการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน ร้อยละ 83.56
[ดูข้อมูล]
 
หมายเหตุ:
1. ข้อมูลจากกลุ่มสื่อสารความเสี่ยงโรคและภัยสุขภาพ สคร.9 และระบบบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค (EstimatesSM)
2. ระดับความพึงพอใจ

       
งานบริการ ของสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 นครราชสีมา (สคร.9) ข้อมูล ณ วันที่ 28 มิถุนายน 2565
ลิงค์ช่องทางเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร สคร.9   เว็บไซต์สคร.9 กรมควบคุมโรค Facebook สคร.9 Facebook ก้าวทันโรคกับสคร.9
     
    ข้อมูลผลการสำรวจความพึงพอใจ ความคิดเห็นฯ ปี 2565
    ผลการประเมินสถานะการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) และผลลัพธ์การดำเนินการ (หมวด 7) สคร.9 ปี 2565
    การประเมินผลความรอบรู้สุขภาพด้านการป้องกันควบคุมโรค ของประชาชนไทยในพื้นที่สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 นครราชสีมา ประจำปี 2565 (สคร.9 กรมควบคุมโรค)
(โรคเมลิออยด์ , ปัญหาฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน , การป้องกันการจมน้ำ , โรคติดต่อนำโดยยุงลาย และโรคโควิด-19)
- เข้าถึงข้อมูลข่าวสาร เฉลี่ยร้อยละ 71.22
- รับรู้ข้อมูลข่าวสาร เฉลี่ยร้อยละ 81.6
- ความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ เฉลี่ยร้อยละ 56.06
- ความรอบรู้สุขภาพด้านการป้องกันควบคุมโรค เฉลี่ยร้อยละ 56.51
- พฤติกรรมการป้องกันโรคและภัยสุขภาพ เฉลี่ยร้อยละ 73.40
- ภาพลักษณ์ของกรมควบคุมโรคในมุมมองประชาชน รู้จักกรมควบคุมโรค เฉลี่ยร้อยละ 97 มีความคิดเห็นเชิงบวกต่อภาพลักษณ์ของกรมควบคุมโรค เฉลี่ยร้อยละ 86.75
.
    การประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพในการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ของประชาชน ปี 2565 (สำนักสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ กรมควบคุมโรค)
.
    ผลประเมินความพึงพอใจของเครือข่ายต่อการสนับสนุนการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ด้วยกลไกการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำภอ (พชอ.) ของสคร.9 ปี 2565
หน่วยงานเครือข่าย 119 หน่วยงาน ได้แก่ สสจ. สสอ. รพ. รพ.สต. อปท. ศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง และพัฒนาสังคมฯ
- ภาพรวม พึงพอใจระดับมาก ร้อยละ 82.35 ระดับมากที่สุด ร้อยละ 17.65
- ด้านการสนับสนุนทางวิชาการ พึงพอใจระดับมากถึงมากที่สุด ร้อยละ 80-98
- ด้านบุคลากร พึงพอใจระดับมากถึงมากที่สุด ร้อยละ 97-99
- ด้านบริการ พึงพอใจระดับมากถึงมากที่สุด ร้อยละ 79-99

.
    ผลการประเมินความพึงพอใจนวัตกรรมและการนำไปใช้ประโยชน์ ของสคร.9 ปี 2565
ชื่อนวัตกรรม
ผู้ใช้งาน
ความพึงพอใจและการนำไปใช้ประโยชน์
1. นวัตกรรมการประเมินและจัดการความเสี่ยง จากการทำงานในที่อับอากาศ
ประชาชนที่ทำงานในที่อับอากาศ, อสม. ในพื้นที่เขตสุขภาพที่ 9
- ความพึงพอใจอุปกรณ์ตรวจวัดและระบายอากาศ ร้อยละ 84.22
- ความพึงพอใจต่อการได้รับความรู้ ร้อยละ 83.50 และมีความรู้เพิ่มขึ้น (ก่อน ร้อยละ 45.2 หลัง ร้อยละ 81.9)
2. โปรแกรมอัตโนมัติตอบสนองข้อมูลที่จำเป็นสำหรับทีม SAT & JIT เขตสุขภาพที่ 9 (Easy Response Phase 2) SAT, JIT, SRRT พื้นที่เขตสุขภาพที่ 9
ร้อยละ 96.93
3. โปรแกรมการเฝ้าระวังลูกน้ำยุงลาย และการเฝ้าระวังโรคติดต่อนำโดยยุงลาย หน่วยควบคุมโรคระดับอำเภอ, ตำบล, อสม.
ร้อยละ 96
4. เต็นท์เก็บตัวอย่างความดันบวก ป้องกันการติดเชื้อโควิด-19 บุคลากรทางการแพทย์ที่เก็บตัวอย่างตรวจโควิด-19
ร้อยละ 90
5. การออกแบบและพัฒนาระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการสื่อฯ (RC9) สสจ. สสอ. รพ. สถานศึกษา อปท. สื่อมวลชน
ร้อยละ 88
6. ระบบให้คำปรึกษาด้านการเก็บตัวอย่างสิ่งส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ กรณีพบการระบาดของโรคในพื้นที่เขตสุขภาพที่ 9 (Easy Lab-Line Chatbot Phase 2) SAT, JIT, CDCU พื้นที่เขตสุขภาพที่ 9
ร้อยละ 86.25
7. การสอบสวนการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน SAT, JIT สคร.9 สสจ. สสอ. รพ.ชุมชน พื้นที่เขตสุขภาพที่ 9
ร้อยละ 83.56
       
    สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ และการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร เรื่อง โรคและภัยสุขภาพ ของเครือข่าย และประชาชนในเขตสุขภาพที่ 9
- ผู้ประเมินมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 90.6 โดย
- ส่วนใหญ่รับรู้ข้อมูลข่าวสารเรื่องโรคและภัยสุขภาพ ผ่านช่องทาง Line ร้อยละ 93.2 รองลงมา คือ Facebook สคร.9 นครราชสีมา ร้อยละ 71.6 และ Facebook ก้าวทันโรคกับสคร.9 ร้อยละ 65.9
- ความพึงพอใจที่มีต่อข่าวแจก พบว่า มีความน่าเชื่อถือ ร้อยละ 90.2 มีประโยชน์ ร้อยละ 88 และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ต่อได้
- ความพึงพอใจที่มีต่อ Infographic พบว่า มีความน่าเชื่อถือ ร้อยละ 89.8 สามารถนำไปใช้ประโยชน์ต่อได้ ร้อยละ 89.4 และมีประโยชน์ ร้อยละ 89.2
- ความพึงพอใจที่มีต่อวิดีโอคลิปโรคและภัยสุขภาพ พบว่า มีความน่าเชื่อถือ ร้อยละ 91 เข้าใจง่าย ร้อยละ 90.6 และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ ร้อยละ 90.2
.
    รายงานผลการประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพในการป้องกันควบคุมโรคของบุคลากร ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 นครราชสีมา
- มีความรอบรู้ด้านสุขภาพฯ ในภาพรวมอยู่ในระดับพอเพียง ร้อยละ 68.22
- การรับรู้บรรยากาศภายในองค์กรด้านการรอบรู้ด้านสุขภาพฯ ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 54.17
.
    ผลสำรวจความคิดเห็นและความกังวลต่อสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และพฤติกรรมในการป้องกันตนเองของประชาชน ในพื้นที่เขตสุขภาพที่ 9 ปี 2565
- ความกังวลต่อสถานการณ์โควิด 19 และโอไมครอน : กังวลมาก ร้อยละ 23.8 กังวลบ้าง ร้อยละ 65.9 ไม่กังวล ร้อยละ 10.3
- ผลกระทบ : การเดินทาง/ท่องเที่ยว ร้อยละ 52 การเปิดภาคเรียน ร้อยละ 51.1 การซื้ออุปกรณ์ป้องกันตนเอง ร้อยละ 46
- การตรวจ ATK : แล้วแต่สถานการณ์ ร้อยละ 45.8 ไม่เคยตรวจ ร้อยละ 28.6 สัปดาห์ละ 1-2 ครั้ง ร้อยละ 12.7
- สวมหน้ากาก ตลอดเมื่ออยู่ที่สาธารณะ ร้อยละ 93.1 เมื่อโดยสารรถสาธารณะ ร้อยละ 51.2 เมื่อพูดคุย ร้อยละ 48
- การเว้นระยะห่าง เมื่อไปที่สาธารณะ ร้อยละ 79 เมื่อไปงานต่างๆ ร้อยละ 71.1 ไม่ได้เว้นระยะห่าง ร้อยละ 1.7
Universal Prevention พฤติกรรมป้องกันการติดเชื้อแบบครอบจักรวาล
- หลีกเลี่ยงการไปสถานที่แออัด ร้อยละ 88.4
- ล้างมือบ่อย ๆ ร้อยละ 62.5
- สวมหน้ากากอนามัย/หน้ากากผ้าตลอดเวลา ร้อยละ 59.3
- เว้นระยะห่าง 1-2 เมตร ร้อยละ 52.7
- กินอาหารร้อน ใช้ช้อนกลางส่วนตัว ร้อยละ 41.1
- ทำความสะอาดพื้นผิวที่สัมผัสบ่อย ๆ ร้อยละ 37.7
- ไม่เอามือสัมผัสหน้า จมูก ปาก ร้อยละ 36.4
- ตรวจ ATK บ่อย ๆ ร้อยละ 31.2
- แยกของใช้กับผู้อื่น ร้อยละ 30.2
       
    ข้อมูลผลการสำรวจความพึงพอใจ ความคิดเห็นฯ ปี 2564
    จำนวนประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคที่เป็นปัญหาสำคัญ (ตัวชี้วัด SDA310_26)
- การป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก จำนวน 1,371,238 ราย
    ร้อยละความพึงพอใจของผู้ใช้นวัตกรรมเรื่อง Digital Doctor@DDC (AI Chatbot) คัดกรองวัณโรคปอดออนไลน์ (ตัวชี้วัด 4C41_26 ระดับความสำเร็จของนวัตกรรมที่หน่วยงานสร้างใหม่แล้วนำไปใช้ประโยชน์)
- ผู้ใช้นวัตกรรมมีความพึงพอใจ ร้อยละ 83.67
    ร้อยละความพึงพอใจในการนำมาตรฐานสถานที่ทำงานไปใช้เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการป้องกันโรคและภัยสุขภาพ และการมีสุขภาวะที่ดี (ตัวชี้วัด SDA621_26)
- เครือข่ายมีความพึงพอใจในการนำมาตรฐานสถานที่ทำงานไปใช้เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการป้องกันโรคและภัยสุขภาพ ร้อยละ 83.41
    ร้อยละของเครือข่ายมีความพึงพอใจต่อการสนับสนุนเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็ง ในการจัดการระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ (ตัวชี้วัด SDA205_26)
- ผู้เข้ารับการพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลและพัฒนาระบบการจัดเก็บข้อมูลการติดเชื้อในโรงพยาบาล มีความพึงพอใจร้อยละ 98.25
    ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจต่อการบริการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคที่เป็นปัญหาสำคัญ เช่น โรคเท้าช้าง โรคไข้เลือดออก โรคหนอนพยาธิ โรคพยาธิใบไม้ตับ และโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน (ตัวชี้วัด SDA311_26)
- ประชาชนมีความพึงพอใจภาพรวม ร้อยละ 97.96
    ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจต่อการบริการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคในการเร่งรัดกำจัดโรคไข้มาลาเรีย วัณโรค และยุติปัญหาเอดส์ (ตัวชี้วัด SDA518_26)
- ประชาชนมีความพึงพอใจต่อการบริการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคในการเร่งรัดกำจัดโรคไข้มาลาเรีย ร้อยละ 98.22
    ผลสำรวจความคิดเห็นและพฤติกรรมสุขภาพ เรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) พื้นที่เขตสุขภาพที่ 9 ปี 2564
- พฤติกรรมป้องกันตนเอง ระดับดี ร้อยละ 42.5 ระดับปานกลาง ร้อยละ 53 ระดับพอใช้ ร้อยละ 4.5
- การปฏิบัติตามมาตรการ D-M-H-T-T :
Distancing เว้นระยะห่าง ร้อยละ 75.7 Mask Wearing สวมหน้ากาก ร้อยละ 89.7 Hand Washing ล้างมือ ร้อยละ 82.7 Testing ตรวจวัดอุณหภูมิ ร้อยละ 88.2 Thai Cha na สแกนแอปไทยชนะ ร้อยละ 39.2
- แพลตฟอร์ม ไทยชนะ : รู้จัก ร้อยละ 72 ลงทะเบียนทุกครั้ง ร้อยละ 28 บางครั้ง ร้อยละ 27.3 ไม่ลง ร้อยละ 43.9
- แพลตฟอร์ม หมอชนะ : รู้จัก ร้อยละ 59.1 ลงทะเบียนทุกครั้ง ร้อยละ 25.6 ไม่ลง ร้อยละ 74.4
    ผลสำรวจความคิดเห็นของประชาชนจังหวัดนครราชสีมา เรื่องความกังวลต่อโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) กรณีพบผู้ป่วยรายใหม่ อ.เลิงสาง จ.นครราชสีมา ปี 2564
- ความกังวลเมื่อต้องออกไปข้างนอก กังวลเล็กน้อยร้อยละ 76.8 ความกังวลต่อข่าว กังวลมากร้อยละ 50.6
- ส่งผลต่อการดำเนินชีวิต อย่างมากร้อยละ 53.6
- สวมหน้ากากป้องกันการแพร่เชื้อโรค ร้อยละ 83.9
- ป้องกันตนเอง : สวมหน้ากาก ร้อยละ 93.7 เลี่ยงพื้นที่แออัด ร้อยละ 88.2 ล้างมือ ร้อยละ 85.8
- แหล่งข้อมูล : Facebook ร้อยละ 92.8 โทรทัศน์ ร้อยละ 86.1 Line ร้อยละ 56.2
- ความมั่นใจในการป้องกันควบคุมโรคของจังหวัดนครราชสีมา มั่นใจเล็กน้อยร้อยละ 63.7
    ผลการสำรวจความกังวลต่อสถานการณ์โรคโควิด-19 ระลอกใหม่เมษายน 2564 กรณีพบการติดเชื้อในเด็กนักเรียนเพิ่มขึ้น จ.นครราชสีมา ปี 2564
- ประชาชนมีความกังวลมาก ร้อยละ 60.1
- ส่งผลต่อการดำเนินชีวิต อย่างมากร้อยละ 52.7
- ความมั่นใจในการป้องกันควบคุมโรคของจังหวัดนครราชสีมา มั่นใจเล็กน้อยร้อยละ 57.1 ของโรงเรียน มั่นใจเล็กน้อยร้อยละ 53.6
- เห็นด้วยกับการเรียนการสอนแบบออนไลน์ ร้อยละ 91.2
- ป้องกันตนเอง : สวมหน้ากาก ร้อยละ 97.5 เลี่ยงพื้นที่แออัด ร้อยละ 95 ล้างมือ ร้อยละ 92.1
- แหล่งข้อมูล : โทรทัศน์ ร้อยละ 85.2 Facebook ร้อยละ 82.2 Line ร้อยละ 63.6
- ลงทะเบียนหมอพร้อม ร้อยละ 54.7
    การประเมินผลความรอบรู้สุขภาพ ด้านการป้องกันควบคุมโรคของประชาชนไทย ในพื้นที่สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 นครราชสีมา ประจำปี 2564 (5 ประเด็นได้แก่ โรคไข้หวัดใหญ่ โรคติดต่อนำโดยยุงลาย ผลิตภัณฑ์ยาสูบ การบาดเจ็บทางถนน และโรคจากสารกำจัดศัตรูพืช)
- ได้รับข้อมูลข่าวสาร อยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย 19.90 คิดเป็นร้อยละ 79.60)
- เข้าถึงข้อมูลข่าวสาร อยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 34.30 คิดเป็นร้อยละ 76.22)
- ความพึงพอใจต่อข้อมูลข่าวสาร อยู่ในระดับพึงพอใจมาก (ค่าเฉลี่ย 4.32 คิดเป็นร้อยละ 86.40)
- ความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ อยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย 10.45 คิดเป็นร้อยละ 69.66)
- ความรอบรู้ด้านสุขภาพ อยู่ในระดับมีปัญหา (ค่าเฉลี่ย 59.23 คิดเป็นร้อยละ 74.03)
- พฤติกรรมที่เหมาะสมต่อการป้องกันโรคและภัยสุขภาพ อยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย 59.23 คิดเป็นร้อยละ 78.97)
- รู้จักกรมควบคุมโรค ร้อยละ 85.5 , ภาพลักษณ์ของกรมควบคุมโรคในมุมมองประชาชน อยู่ในระดับมาก ร้อยละ 87.80
- ความคิดเห็นเชิงบวกต่อภาพลักษณ์ของกรมควบคุมโรค อยู่ในระดับมาก ร้อยละ 87.85
    รายงานผลการประเมินความรอบรู้สุขภาพของบุคลากรสาธารณสุขด้านการป้องกันควบคุมโรค ในพื้นที่เขตสุขภาพที่ 9 ประจำปี 2564
- ความรอบรู้ด้านสุขภาพโดยรวม เฉลี่ยร้อยละ 74.40 (อยู่ในระดับพอเพียง)
- การรับรู้บรรยากาศองค์การรอบรู้ด้านสุขภาพ เฉลี่ยร้อยละ 82.48 (อยู่ในระดับมาก)
    สรุปผลการประเมินความพึงพอใจและการรับรู้ข้อมูลข่าวสารเรื่องโรคและภัยสุขภาพ ของเครือข่ายและประชาชนในเขตสุขภาพที่ 9 ปี 2564
- ภาพรวมเฉลี่ยร้อยละ 82.45
- มีความพึงพอใจมากที่สุดในเรื่อง เป็นปัจจุบันทันสมัย ร้อยละ 73.7 รองลงมา ได้แก่ มีประโยชน์ ร้อยละ 70.2 และเข้าใจง่าย ร้อยละ 68.4
    สรุปผลการสำรวจความรอบรู้ด้านสุขภาพในการป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้าในพื้นที่ต้นแบบ Rabies Free Zone สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 นครราชสีมา ประจำปี 2564
- ภาพรวมประชาชนมีความรอบรู้ด้านสุขภาพในการป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้า ระดับดี ร้อยละ 47.5 ระดับไม่ดี ร้อยละ 44.2 และระดับปานกลาง ร้อยละ 8.2
- ทักษะด้านการเข้าถึงข้อมูล ร้อยละ 74.8 ทักษะด้านการเข้าใจข้อมูล ร้อยละ 72.2 ทักษะด้านการไต่ถาม ร้อยละ 69.0 ทักษะด้านการตัดสินใจ ร้อยละ 71.8 และทักษะด้านการนำไปใช้ ร้อยละ 65.0
       
    ข้อมูลผลการสำรวจความพึงพอใจ ความคิดเห็นฯ ปี 2563
    จำนวนประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคที่เป็นปัญหาสำคัญ (ตัวชี้วัด SDA0307_R_11 ศตม.9.1-9.4)
- การป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก จำนวน 1,269,198 ราย
    ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจต่อการบริการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคที่เป็นปัญหาสำคัญ (ตัวชี้วัด SDA0308_R_11 ศตม.9.1-9.4)
- ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจต่อการให้บริการ ร้อยละ 97.09
    ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจต่อการบริการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคในการเร่งรัดกำจัดโรคไข้มาลาเรีย วัณโรค และยุติปัญหาเอดส์ (ตัวชี้วัด SDA0515_R_11 )
- ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจต่อการให้บริการ ร้อยละ 97.72
    ร้อยละของเครือข่ายมีความพึงพอใจต่อการสนับสนุนเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งในการจัดการระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ (ตัวชี้วัด SDA0205_R_11)
- เครือข่ายมีความพึงพอใจต่อ สคร.9 ร้อยละ 92.05
    ร้อยละของเครือข่ายเป้าหมายที่มีความพึงพอใจต่อการพัฒนาศักยภาพและสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพในวัยเด็ก ด้านมาตรฐานงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (ตัวชี้วัด SDA1444_R_11 กลุ่มโรคติดต่อทั่วไป)
- เครือข่ายมีความพึงพอใจภาพรวม ร้อยละ 89.25
    ร้อยละความพึงพอใจในการนำมาตรฐานสถานที่ทำงานไปใช้ เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการป้องกันโรคและภัยสุขภาพ และการมีสุขภาวะที่ดี (ตัวชี้วัด SDA0618_R_11 งานโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม)
- เครือข่ายมีความพึงพอใจ ร้อยละ 90
    ร้อยละความพึงพอใจและการใช้ประโยชน์นวัตกรรม สคร.9 ปี 2563
- ระบบข้อมูลผลิตภัณฑ์วิชาการ สคร.9 (E-Tracking) ร้อยละ 79.75
- ระบบข้อมูลและติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ (SAT JIT Lab) ร้อยละ 95
- ตู้หน้ากากอนามัยหยอดเหรียญ ร้อยละ 96.5
    ผลการสำรวจความคิดเห็นของประชาชน จังหวัดนครราชสีมา เรื่องชีวิตวิถีใหม่ (New Mormal) ป้องกันควบคุมโรคโควิด 19 และความเชื่อมั่นต่อการดำเนินงานของกระทรวงสาธารณสุข
- สวมหน้ากากอนามัย : เมื่อมีไข้ ไอจาม มีน้ำมูก (ไม่ให้แพร่เชื้อโรค) ร้อยละ 77.7 เมื่อไม่มีไข้ ไอจาม มีน้ำมูก (ไม่ให้รับเชื้อโรค) ร้อยละ 51.8
- ล้างมือด้วยสบู่ ร้อยละ 88.4 เว้นระยะห่าง ร้อยละ 85.7 สวมหน้ากากต่อเนื่อง ร้อยละ 58 พกแอลกอฮออล์เจล ร้อยละ 43.8
- ติดตามข้อมูลข่าวสารโรคโควิด 19 ทางโทรทัศน์ ร้อยละ 73.2 เชื่อถือข้อมูลข่าวสาร ร้อยละ 77.7
- ความเชื่อมั่นต่อการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคโควิด 19 ของกระทรวงสาธารณสุข ร้อยละ 73.2 คิดว่ากระทรวงสาธารณสุขดำเนินการดีอยู่แล้ว ร้อยละ 54.5
    การสำรวจความคิดเห็นของประชาชน กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ปี 2563
- รู้จัก/เคยได้ยิน ร้อยละ 99 กลัวที่จะติด ร้อยละ 83 เสียง ร้อยละ 48
- สถานที่ที่กลัวจะติด : ทุกสถานที่ ร้อยละ 60 โรงพยาบาล ร้อยละ 40 รถโดยสารสาธารณะ ร้อยละ 29
- แหล่งข้อมูลที่รับทราบคำแนะนำ : โทรทัศน์ ร้อยละ 92 อินเตอร์เน็ต ร้อยละ 73 เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ร้อยละ 50
    การประเมินผลความรอบรู้สุขภาพด้านการป้องกันควบคุมโรคของประชาชนไทย ในพื้นที่สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 นครราชสีมา ประจำปี 2563
- ความรอบรู้ด้านสุขภาพ เฉลี่ยร้อยละ 75.54
- การรับรู้ข้อมูลข่าวสารเรื่องโรคและภัยสุขภาพ เฉลี่ยร้อยละ 78.36
- ความพึงพอใจต่อข้อมูลข่าวสารเรื่องโรคและภัยสุขภาพ เฉลี่ยร้อยละ 86.80
- ความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ เฉลี่ยร้อยละ 73.12
- พฤติกรรมการป้องกันโรคและภัยสุขภาพ เฉลี่ยร้อยละ 76.37
- กลุ่มตัวอย่างรู้จักกรมควบคุมโรค ร้อยละ 82.50 ภาพลักษณ์เชิงบวกของกรมควบคุมโรคในมุมมองประชาชน เฉลี่ยร้อยละ 85.90
    การประเมินความพึงพอใจของเครือข่ายสื่อสารสาธารณะที่มีต่อข่าวประชาสัมพันธ์ ของสํานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 นครราชสีมา ปี 2563
- ภาพรวมเฉลี่ยร้อยละ 96.30
       
    ข้อมูลผลการสำรวจความพึงพอใจ ความคิดเห็นฯ ปี 2562
    จำนวนประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคที่เป็นปัญหาสำคัญ (ตัวชี้วัด SDA0307_R_58 ศตม.9.1-9.4 กลุ่มโรคติดต่อทั่วไป งานโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม)
- รวม 930,946 ราย ได้แก่ การป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก จำนวน 808,573 ราย โรคหนอนพยาธิ โรคพยาธิใบไม้ในตับ จำนวน 84,459 ราย การคัดกรองแรงงานนอกระบบ 3 กลุ่ม จำนวน 37,914 ราย
    จำนวนประชาชนกลุ่มวัยแรงงานที่เข้าถึงการจัดบริการอาชีวอนามัย (ตัวชี้วัด SDA1549_R_58 งานโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม)
- ร่วมพัฒนาและให้ข้อมูลการดําเนินงานสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข ร่วมกับภาคีเครือข่าย รวม 7 แห่ง ได้แก่ จ.นครราชสีมา 1 แห่ง จ.ชัยภูมิ 2 แห่ง จ.บุรีรัมย์ 1 แห่ง จ.สุรินทร์ 3 แห่ง
- ติดตามเพื่อให้ข้อมูลการดําเนินงานการประเมินและจัดการความเสี่ยงทางสุขภาพแบบครบวงจรและกําหนดเป้าหมายการดําเนินงานกับหน่วยบริการสุขภาพ 4 จังหวัด รวม 23 แห่ง
    จำนวนเครือข่ายเป้าหมายที่ได้รับการสนับสนุน เสริมสร้างศักยภาพ และความเข้มแข็งในการจัดการระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ (ตัวชี้วัด SDA0204_R_58 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย)
- รวม 359 หน่วยงาน ได้แก่ เครือข่ายประเภทวิชาการในระดับพื้นที่ 4 หน่วยงานได้แก่ สสจ. (4 แห่ง) และเครือข่ายประเภทปฏิบัติการในระดับพื้นที่ 355 หน่วยงาน ได้แก่ สสอ. (88 แห่ง) รพ.สต. (176 แห่ง) รพ. (88 แห่ง) อบต. (3 แห่ง)
    ผลการประเมินความพึงพอใจ นวัตกรรมการพัฒนาระบบเฝ้าระวังและคัดกรองโรคติดต่อของผู้เดินทางผ่านด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ช่องจอม จังหวัดสุรินทร์ (ตัวชี้วัด 4C41_R_58 ระดับความสำเร็จของนวัตกรรมที่หน่วยงานสร้างใหม่แล้วนำไปใช้ประโยชน์)
- ภาพรวม ร้อยละ 83.75
    ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจต่อการบริการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคที่เป็นปัญหาสำคัญ (ตัวชี้วัด SDA0308_R_58 ศตม.9.1-9.4 กลุ่มห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ด้านควบคุมโรค)
- ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจต่อการให้บริการ ร้อยละ 97.38
    ร้อยละของเครือข่ายมีความพึงพอใจต่อการสนับสนุนเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งในการจัดการระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ (ตัวชี้วัด SDA0205_R_58 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย)
- เครือข่ายมีความพึงพอใจต่อ สคร.9 ในระดับมาก ร้อยละ 91.9
    ร้อยละของเครือข่ายเป้าหมายที่มีความพึงพอใจต่อการพัฒนาศักยภาพและสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพตลอดช่วงชีวิต (ตัวชี้วัด SDA1447_R_58 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย)
- เครือข่ายมีความพึงพอใจต่อ สคร.9 ในระดับมากและมากที่สุด ร้อยละ 99.2
    รายงานผลการประเมินการรับทราบข้อมูล และความพึงพอใจต่อข้อมูลข่าวสารเรื่องโรคพิษสุนัขบ้า ของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย (ตัวชี้วัด 2C22_R_58 ระดับความสำเร็จในการดำเนินการตามแผนการสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ประชาชนเรื่องโรคและภัยสุขภาพ กลุ่มสื่อสารความเสี่ยงฯ)
- รับทราบข้อมูล ร้อยละ 92.6
- พึงพอใจ ร้อยละ 93.7
    การประเมินผล การรับรู้ข้อมูลข่าวสารเรื่องโรคและภัยสุขภาพ พฤติกรรมการป้องกันและควบคุมโรค และภาพลักษณ์ของกรมควบคุมโรค ของประชาชนไทย ในพื้นที่สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 จังหวัดนครราชสีมา ประจำปี 2562
- การรับรู้ข้อมูลข่าวสารเรื่องโรคและภัยสุขภาพในภาพรวม ร้อยละ 98.00
- ความพึงพอใจต่อข้อมูลข่าวสาร ร้อยละ 99.30
- ความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ ร้อยละ 69.50

- พฤติกรรมการป้องกันโรคและภัยสุขภาพ เหมาะสมในระดับมาก ร้อยละ 69.00
- รู้จักกรมควบคุมโรค ร้อยละ 88.00 ภาพลักษณ์เชิงบวกของกรมควบคุมโรคในมุมมองประชาชน เฉลี่ยร้อยละ 96.00
.
    ข้อมูลผลการสำรวจความพึงพอใจ ความคิดเห็นฯ ปี 2552 - 2560
    ผลการประเมินความพึงพอใจและความไม่พึงพอใจ ต่อการให้บริการของสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 นครราชสีมา ปี 2560
- ด้านการให้บริการมาลาเรียคลินิก/บริการเชิงรุก ร้อยละ 99.06 และไม่พบความไม่พึงพอใจ
- ด้านกระบวนการถ่ายทอดความรู้โรคและภัยสุขภาพ ร้อยละ 98.79 และไม่พบความไม่พึงพอใจ
    การสำรวจการรับทราบข้อมูลข่าวสาร ความรู้ พฤติกรรมสุขภาพของประชาชนในเขตสุขภาพที่ 9 และภาพลักษณ์ของกรมควบคุมโรค ประจำปี พ.ศ. 2559
    การสำรวจพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ เขตสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 พ.ศ. 2557 (pilot project) (Behavioral Risk Factor Surveillance System: BRFSS) โดย สำนักโรคไม่ติดต่อ
    การสำรวจพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ จังหวัดชัยภูมิ พ.ศ. 2557 (pilot project) (Behavioral Risk Factor Surveillance System: BRFSS) โดย สำนักโรคไม่ติดต่อ
    ผลการสำรวจการรับทราบข้อมูลข่าวสารในเรื่องโรคและภัยสุขภาพ และภาพลักษณ์องค์กรของประชาชน ปี 2557
    รายงานผลการสำรวจการรับรู้ข่าวสารการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประชาชน ในพื้นที่เขตสาธารณสุขที่ 14 ปี 2554
    รายงานผลการสำรวจการรับรู้ข่าวสารการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประชาชน ในพื้นที่เขตสาธารณสุขที่ 13 ปี 2551
    รายงานผลการสำรวจการรับรู้ข่าวสารการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประชาชน ในพื้นที่เขตสาธารณสุขที่ 14 ปี 2552